จากเหตุการณ์ "แผ่นดินไหว" ความแรง 8.2 แมกนิจูด ที่เมียนมา เมื่อเวลา 13.20 น.ของวันศุกร์ที่ 28 มีนาคม 2568 ส่งผลให้แรงสั่นเทือนมาถึงประเทศไทย จนพื้นที่เสียหายหลายจุด อาคารได้รับความเสียหาย รวมถึงตึก สตง.ใหม่ ที่กำลังสร้างเกิดถล่ม และประชาชนได้รับความเดือดร้อนในเรื่องของการเดินทาง รวมไปถึงที่พัก พีพีทีวี ออนไลน์ ได้รวบรวมเบอร์โทรศัพท์ สายด่วน เหตุฉุกเฉินและแผ่นดินไหว มาให้เซฟเก็บไว้ใช้กัน
ผู้เชี่ยวชาญญี่ปุ่นเผย แผ่นดินไหวเมียนมาเป็น “แผ่นดินไหวคลื่นยาว”
สตง.เคลื่อนไหวแล้ว แสดงความเสียใจสุดซึ้ง-เร่งหาสาเหตุตึกถล่ม
รวมเบอร์โทรศัพท์ สายด่วน เหตุฉุกเฉินและแผ่นดินไหว
แจ้งปัญหาอาคาร รอยร้าว
ศูนย์ดำรงธรรม 0-2299-4191
กรมโยธาธิการและผังเมือง 02-299-431
เบอร์ฉุกเฉินด้านการแพทย์และโรงพยาบาล
1669 สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ (ทั่วประเทศ)
1646 หน่วยแพทย์ฉุกเฉิน (กทม.)
1554 หน่วยแพทย์กู้ชีวิต วชิรพยาบาล
1367 ศูนย์พิษวิทยา โรงพยาบาลรามาธิบดี
1667 สายด่วนกรมสุขภาพจิต
1784 กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
1323 สายด่วนสุขภาพจิต
เบอร์ฉุกเฉินเหตุด่วนเหตุร้าย
1555 กรุงเทพมหานคร
1182 กด 0 กด 4 สายด่วนแผ่นดินไหว
192 ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ
02 399 4114 ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ
191 แจ้งเหตุด่วนเหตุร้ายกับเจ้าหน้าที่ตำรวจ
199 แจ้งเหตุไฟไหม้/ดับเพลิง
1192 ศูนย์ปราบปรามการโจรกรรมรถ (แจ้งรถหาย)
1195 กองปราบ (สายด่วนแจ้งเหตุอาชญากรรม คดีร้ายแรง)
1300 แจ้งคนหาย
1418 มูลนิธิปอเต๊กตึ๊ง
1677 ร่วมด้วยช่วยกัน
1196 แจ้งอุบัติเหตุทางน้ำ
02191-9191 ตำรวจสอบสวนกลาง (CIB)
เบอร์ฉุกเฉินระหว่างเดินทาง
1543 กรมทางพิเศษแห่งประเทศไทย
1193 ตำรวจทางหลวง
1155 ตำรวจท่องเที่ยว (แจ้งเหตุด่วนเหตุร้ายที่เกี่ยวข้องกับนักท่องเที่ยว)
1644 สวพ. FM91 สถานีวิทยุเพื่อความปลอดภัยและจราจร
1690 การรถไฟแห่งประเทศไทย
1146 กรมทางหลวงชนบท
1137 วิทยุ จส.100
1197 ศูนย์ควบคุมและสั่งการจราจรตำรวจ
1199 กรมเจ้าท่า
1356 ศูนย์ปลอดภัยคมนาคม
1586 สายด่วนกรมทางหลวง
1677 ศูนย์วิทยุร่วมด้วยช่วยกัน
1490 บขส.
1197 ขสมก.
1722 ท่าอากาศยานไทย