ประเด็นร้อน “ชัชชาติ” ขี่สกู๊ตเตอร์มาเลือกตั้ง เชิญชวนประชาชนออกมาใช้สิทธิ 24 มี.ค. 2562,09:48น. แคนดิเดตนายกรัฐมนตรีของพรรคเพื่อไทย ขี่ สกู๊ตเตอร์ มาใช้เลือกตั้งส.ส. พร้อมเชิญชวนประชาชนออกมาใช้สิทธิ ย้ำ ประชาธิปไตย ต้องเริ่มทุกวัน ไม่ใช่แค่วันเลือกตั้ง อ่านเพิ่มเติม
ประเด็นร้อน สูตรเลือกนายกฯ หลังเลือกตั้ง 62 หาก “ประยุทธ์” ถูกเสนอชื่อ 31 ต.ค. 2561,18:59น. รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน กำหนดให้รัฐสภามี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 500 คน และ สมาชิกวุฒิสภา 250 คน รวม 750 คน และให้ ส.ว. ร่วมเลือกนายกฯ ได้ด้วย หาก พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ต้องการกลับมาเป็นนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง จะต้องได้เสียงสบันสนุน 376 เสียงขึ้นไป ไม่ว่าจะเป็นจาก ส.ส.ทั้งหมด หรือ ส.ส. รวมกับ ส.ว.250 ก็ได้ ขณะนี้มีพรรคใดบ้างที่ประกาศสนับสนุน พล.อ.ประยุทธ์ อ่านเพิ่มเติม
ประเด็นร้อน "ประยุทธ์" มี ส.ส.126คน เป็นนายกฯได้ แต่เป็นรัฐบาลเสียงข้างน้อยไม่ได้ 1 พ.ย. 2561,19:43น. การเลือกตั้งที่กำลังจะมาถึง ผู้เลือกนายกรัฐมนตรีไม่ได้จำกัดอยู่เฉพาะ ส.ส. 500 คน เท่านั้น แต่เปิดโอกาสให้ ส.ว. 250 คน ร่วมเลือกด้วย นี่ทำให้ถูกมองว่า พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา อาจมีโอกาสมากกว่าคนอื่น เพราะ คสช. เป็นผู้เลือกส.ว.250 คน ซึ่งถ้าคิดง่ายๆ จะพบว่า ต้องการเสียง ส.ส.อีกเพียง 126 เสียง ก็จะมีเสียงเกินกว่ากึ่งหนึ่งของทั้ง 2 สภา ในการก้าวสู่ตำแหน่งนายกรัฐมนตรี แต่ในทางปฎิบัติอาจไม่ง่ายนัก เพราะตัวเลขเพียง126 เสียง ไม่เพียงพอที่จะทำให้รัฐบาลใหม่ บริหารประเทศได้อย่างมีเสถียรภาพ อ่านเพิ่มเติม
ประเด็นร้อน “VOTE NO” มีความหมายครั้งแรก ถ้าสูงกว่าคะแนนผู้สมัคร ส.ส.ให้เลือกตั้งใหม่ 26 ต.ค. 2561,20:43น. หากพูดถึง "Vote No" หรือ "ช่องไม่ประสงค์ลงคะแนน" ในการเลือกตั้งครั้งก่อน แทบจะมีความสำคัญน้อยมากต่อการนับคะแนนผลการเลือกตั้ง เพราะเป็นเพียงแสดงเจตนาว่าไม่เลือกผู้ลงสมัคร ส.ส.เขตนั้น และไม่ส่งผลกระทบต่อ ส.ส.เลย แต่การเลือกตั้งปี 2562 เพื่อให้ตอบโจทย์ "ทุกคะแนนเสียงมีความหมาย" จึงได้เพิ่มบทบาท "โหวตโน" ขึ้น โดยหาก ส.ส.เขตใดที่ชนะการเลือกตั้ง แต่กลับได้คะแนนน้อยกว่า"โหวตโน" เท่ากับว่า การเลือกตั้งเขตนั้นเป็นโมฆะ ต้องเลือกตั้งใหม่ เพื่อให้เห็นภาพชัดเจน อ่านเพิ่มเติม
ประเด็นร้อน กลยุทธ์! เพื่อไทย –ไทยรักษาชาติ แตกแบงก์พันเป็นแบงก์ร้อย แก้เกมรัฐธรรมนูญ 27 พ.ย. 2561,18:36น. ในจังหวะที่พรรคพลังประชารัฐ ใช้ยุทธวิธีชักชวนอดีตส.ส.จากทุกพรรคการเมืองไปรวมไว้ พรรคเพื่อไทยก็ปรับกลยุทธ์ด้วยวิธี ที่ถูกเรียกว่า “แตกแบงค์พัน เป็น แบงค์ร้อย” วิธีนี้ทำให้เกิดการกระจายตัวของอดีต ส.ส.กลุ่มเดิม แยกไปอยู่พรรคการเมืองใหม่ หวังเก็บทุกคะแนนจากการเลือกตั้ง ตามกติกาใหม่ที่ออกแบบมาเพื่อให้พรรคใหญ่ได้เก้าอี้ส.ส.น้อยลง อ่านเพิ่มเติม